วันอาทิตย์ที่ 9 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2557

Palais Garnier

L’Opéra Garnier, ou Palais Garnier
est un des édifices structurants du 9e arrondissement de Paris et du paysage de la capitale française. Situé à l'extrémité de l'avenue de l'Opéra, près de la station de métro du même nom, l'édifice s'impose comme un monumentparticulièrement représentatif de l'architecture éclectique et du style historiciste de la seconde moitié du xixe siècle et s'inscrit dans la continuité des transformations de Paris menées à bien par Napoléon III et le préfet Haussmann. Cette construction a longtemps été appelée l'« Opéra de Paris », mais depuis l'ouverture de l'Opéra Bastille en 1989, on la désigne par le seul nom de son auteur : Charles Garnier. Les deux sites sont aujourd'hui regroupés au sein de l'établissement public, industriel et commercial de l'« Opéra de Paris ». Le Palais Garnier fait l’objet d’un classement au titre des monuments historiques depuis le 16 octobre 1923.
Décors des spectacles

Au cinquième sous-sol, tout le système conçu pour manœuvrer les décors des spectacles a été entièrement construit sur le modèle d'une cale de bateau. Grâce à des cabestans, énormes tambours en bois de 3,50 m de long sur 2 m de diamètre, l'Opéra manipule, dès son inauguration en 1875, une très grande quantité de décors et effectue de nombreux mouvements sur scène (apparitions, trappe, déplacement des différents niveaux...). Ces tambours sont 

l'aboutissement de toute une organisation de cordages, passant par des poulies de renvoi et des éléments de décor. Il est ainsi possible d'avoir plusieurs cordes manipulant différents éléments sur un seul et même cabestan. Il n'est pas rare non plus d'avoir deux tambours, ou même trois, faisant fonctionner un seul décor. Ce n'est pas la première fois que ce mécanisme est utilisé. C'est sous Louis XIV, époque de la grande marine à voiles, qu'apparaissent 
lespremiers cabestans
Les marins viennent eux-mêmes les
installer et en expliquer le fonctionnement dans les théâtres. Après la Première Guerre mondiale, le système, jusque-là activé manuellement, se met à l'électricité. Ce ne sera qu'une période transitoire. Aujourd'hui, depuis une quinzaine d'années, ces grosses bobines sont abandonnées pour laisser place à la robotique. Désormais, tout est informatisé et dirigé depuis les coulisses par des ordinateurs. Il ne reste actuellement qu'une cinquantaine de bobines du troisième au cinquième sous-sol de l'Opéra.


โรงอุปรากรปาแลการ์นีเย
เป็นโรงอุปรากรตั้งอยู่ในกรุงปารีสในฝรั่งเศส ที่สร้างโดย ชาร์ล การ์นีเย เป็นสถาปัตยกรรมแบบฟื้นฟูบาโรก โรงอุปรากรปาแลการ์นีเยถือกันว่าเป็นงานสถาปัตยกรรมชิ้นเอกของยุค เมื่อทำการเปิดในปี ค.ศ. 1875 โรงอุปรากรมีชื่ออย่างเป็นทางการว่า “Académie Nationale de Musique - Théâtre de l'Opéra” (สถาบันดนตรีแห่งชาติ - โรงละครเพื่อการแสดงอุปรากร) ซึ่งเป็นชื่อที่ใช้กันมาจนกระทั่งปี ค.ศ. 1978 เมื่อได้รับการเปลี่ยนชื่อเป็น “Théâtre National de l'Opéra de Paris” (โรงละครแห่งชาติเพื่อการแสดงอุปรากรแห่งปารีส) แต่หลังจากคณะอุปรากรแห่งปารีส (Opéra National de Paris) เลือกโรงอุปรากรบัสตีย์ซึ่งเป็นโรงอุปรากรที่เพิ่งสร้างขึ้นใหม่เป็นโรงอุปรากรหลักแล้ว โรงละครแห่งชาติก็เปลี่ยนชื่อเป็น “ปาแลการ์นีเย” แม้ว่าจะมีชื่ออย่างเป็นทางการว่า “Académie Nationale de Musique” (สถาบันดนตรีแห่งชาติ) แม้ว่าคณะอุปรากรจะย้ายไปยังโรงอุปรากรบัสตีย์ แต่ “ปาแลการ์นีเย” ก็ยังคงเรียกกันว่า “โรงอุปรากรปารีส”

ประวัติ
ปาแลการ์นีเยออกแบบให้เป็นส่วนหนึ่งของโครงการ


สร้างสิ่งก่อสร้างใหม่ของปารีสของจักรวรรดิ

ฝรั่งเศสที่ 2 ที่ริเริ่มโดยจักรพรรดินโปเลียนที่ 3 ผู้ทรงเลือกชอร์ช-เออแชน โอสแมนน์ให้เป็นผู้ดูแลการก่อสร้าง ในปี ค.ศ. 1858 จักรพรรดินโปเลียนก็มีพระบรมราชโองการให้เคลียร์พื้นที่ 12,000 ตารางเมตรที่ใช้ในการสร้างโรงละครที่สองสำหรับคณะนักแสดงอุปรากรและบัลเลต์ที่มีชื่อเสียงไปทั่วโลกของปารีส โครงการนี้ได้เปิดแข่งขันประมูลกันในปี ค.ศ. 1861 โดยมีชาร์ล การ์นีเยเป็นผู้ประมูลได้ ในปีเดียวกันก็ได้ทำการวางศิลาฤกษ์ และการก่อสร้างเริ่มขึ้นในปีต่อมาในปี ค.ศ. 1862 มีเรื่องเล่ากันว่าจักรพรรดินีเออเชนีเดอมองติโคตรัสถามการ์นีเยระหว่างการก่อสร้างว่าจะสร้างเป็นแบบโรมันหรือกรีก ซึ่งการ์นีเยก็ถวายคำตอบว่าจะเป็น “แบบนโปเลียนที่ 3

การก่อสร้าง
เมื่อมาถึงปลาย ค.ศ. 1874 การ์นีเยก็สร้างปาแลการ์นีเยเสร็จ และเปิดดำเนินการเป็นครั้งแรกเมื่อวันที่ 15 มกราคม ค.ศ. 1875 ด้วยการแสดงอันยิ่งใหญ่ งานแสดงฉลองประกอบด้วยองค์ที่สามของอุปรากร La Juive โดย Fromental Halévy และบางตอนของอุปรากร Les Huguenots โดย Giacomo Meyerbeer คณะบัลเลต์แสดง Grand Divertissement ที่ประกอบด้วยฉาก Le Jardin Animé จากบัลเลต์ Le Corsaire โดย Joseph Mazilier ด้วยดนตรีโดย Léo Delibes.
อุปสรรค
การก่อสร้างโรงอุปรากรประสบกับอุปสรรคต่าง ๆ หลายอย่าง อุปสรรคที่สำคัญอย่างหนึ่งคือการเลื่อนเวลาการเทฐานคอนกรีตลงบนพื้นดินที่เป็นเลนแฉะที่ภายใต้เป็นทะเลสาบใต้ดิน ที่ต้องใช้เวลาตลอดแปดเดือนเต็มในการใช้เครื่องสูบน้ำดูดน้ำออก จากนั้นก็ประสบกับสงครามฝรั่งเศส-ปรัสเซีย, การล่มสลายของจักรวรรดิฝรั่งเศสที่ 2 และ การปกครองภายใต้รัฐบาลปารีสคอมมีน ระหว่างนั้นการก่อสร้างก็สร้าง ๆ หยุด ๆ เป็นพัก ๆ และถึงกับมีข่าวลือว่าโครงการจะถูกระงับลงโดยสิ้นเชิง







ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น